วันจันทร์ที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2563

 2.5 การจัดเรียงและการค้นหาข้อมูล

Data structure: การจัดเรียงข้อมูล Sorting

การจัดข้อมูลที่ได้กล่าวมาเเล้วว่า  คืองานที่กระทำกับข้อมูลอย่างเป็นขั้นตอน โดยมีกิจกรรมคือการเก็บรวงรวมข้อมูล การตรวจสอบข้อมูล การประมวลผลข้อมูล การทำรายงานการนำไปใชตลอดการจัดเก็บ  ใบบทที่กล่าวมาถึง ขั้นตอนเเรกเเล้วในบทนี้จะกล่าวถึงการประมวลผลในการจัดการข้อมูล าส่วนใหญ่จะเป็นเรื่องการเรียงลำดับข้อมูลการค้นหาข้อมูเเละการคำนวณ

 การเรียงลำดับเเบบเเทรกไพ่ลำดับ Insertion Sort

    เป็นวิธีการเรียงลำดับที่มีหลักการเหมือนการเเทรกไพ่ กล่าวตคือ จะเปรียบเทียบข้อมูลคู้เเรกก่อน ให้ข้อมูลที่น้อยกว่า ต่อมาก็จะนำข้อมูลตัวถัดไปมาเเทรกข้อมูลที่เปรียบเทียบเเล้วโดยเเทรกตามลำดับจากน้อยไปมาก เรียงจากขวาไปซ้าย หรือจากบนลงล่างจนหมดข้อมูลจะได้ข้อมูลเรียงลำดับทรูปที่7.1 Insertion Sort

  การเรียงลำดบแแบบฟองสบู่

    การเรียงลำดับเเบบฟองสบู่ Bubble Sort เป็นวิธีการเรียงข้อมูล โดยจะเปรียบเทียบข้อมูลที่ละคู่ที่อยู่ติดกัน โดยให้ข้อมูลที่ยน้อยกว่า เมื่อเปรียบเทียบข้อมูลทีละคู่ไปเรื่อยๆ ทำให้ข้อมูลที่น้อยกว่าลอยขึ้นข้างบน ส่วนข้อมูลที่มากมกว่าจะจมลงไป ดังนั้นชข้อมูลที่มีค่ามากที่สุดจะอยู้ข้างล่างสุด

    ถ้าเรียงข้อมูลจากน้อยไปมากดังรูปที่ 7.2 เริ่มต้นรอบที่ 1 (i = 1) นำข้อมูลตัวที่ เเละ มาเปรียบเทียบ (ในรูปคือ 42 เเละ 23

    ถ้าข้อมูลตัวที่ มากกว่าตัวที่ ให้สลับที่กัน โดยตัวที่มีค่าน้อยกว่าลอยขึ้นเเล้วจึงเปรียบเทียบกับตัวที่ ต่อไป

    ถ้าข้อมูลตัวที่ 2มากกว่าตัวที่ 3  ให้สลับที่กัน โดยตัวที่มีค่าน้อยกว่าลอยขึ้น เเล้วจึงเปรียบเทียบข้อมูลตัวที่ กับตัวที่ เป็นเช่นไปเรื่อยๆ จนถึงตัวสุดท้าย จะได้ข้อมูลตัวมากที่สุดอยู่ล่างสุด ถือเป็นจบในรอบที่ ต่อไปเที่ยวที่ 2 (i = 2) ให้เปรียบเทียบขอมูลทำนองเดียวกับรอบที่ 

    เมื่อจบรอบที่ ให้ทำเเบบนี้ไปเรื่อย จนกว่าจะไม่มีข้อมูลในคู่ใดที่จะต้องสลับที่กันอีก ถือว่าได้ข้อมูลที่เรียงเสร็จเรีบยร้อย

 การเรียงลำดับเเบบเลือก

    การเรียงลำดับเเบบเลือก (Selection Sort)เป็นวิธีเรียงข้อมูลอีกวิธีหนึ่ง โดยจะเริ่มค้นหาข้อมูลที่น้อยที่สุดเเล้วนำมาเรียงเป็นลำดับเเรก จากนั้นจะกลับไป้นหาข้อมูลมฃที่น้อยที่สุดของข้อมูลที่เหลืออีกครั้งหนึ่ง เมือ่พบเเล้วจะนำมาเรียงต่อเป็นลำดับถัดไป ทำเช่นนี้จนหมดข้อมูล ดังตัวอย่างที่ 7.3

                            รูปที่ 7.3 เเสดงการเรียงลำดับเเบบ Selection Sort

    ข้อมูลที่รวบรวมเเละป้อนเข้าไปในเเฟ้มข้อมูลอาจไม่อยู่ในลำดับที่เอื้อต่อการใช้งานตามต้องการ การเรียงลำดับช่วยในการควบคุมข้อมูลเเละช่วยให้เกิดความสะดวกในการค้นหาข้อมูล การเรียงลำดับขข้อมูลจะเรียงตามเขตข้อมูลใดเขตข้อมูลหนึ่งซึ่งถือเป็นเขตข้อมลูหลักเขตข้อมูลหลักที่ใช้ในการเรียงอาจเป็นเขตข้อมูลที่เป็นตัวเลขหรือตัวอักษรก็ได้เช่นการจัดเรีบงระเบียนข้อมูลตามเขตข้อมูลคะเเนนสอบซึ่งเป็นเขตข้อมูลตัวเลข การจัดเรีบงระเบียนข้อมูลตามเขตข้อมูลชื่อซึ่งเป็นเขตข้อมูลชนิดตัวอักษรหรือข้อความ การเรียงลำดับเป็นกิจกรรมในช่วงต้นของการประมวลผลก่อนที่จะทำกิจกรรมอื่นต่อไป

    การเรียงลำดับข้อมูลสามารถจัดเรียงได้เป็น ประเภท ได้เเก่

1. การเรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก (ascending sort) ในกรณีที่เขตข้อมูลหลักเป็นเขตข้อมูลข้อความจะเรียงจาก ไป หรือจาก ก ถึง ฮ เเต่ในกรณีเขตข้อมู,หลักเป็นเขตขอมูลตัวเลข การียงจะเรียงจากเลข ไปถึง 9

2. การเรียงลำดับข้อมูลจากมากไปน้อย (descending sort) จะเป็นไปในทางตรงกันข้าม กล่าวคือ ในกรณีที่ข้อมูลหลักเป็นเขตข้อมูลข้อความจะเรียงจาก ไป หรือจาก ฮ ถึง ก เเต่ในกรณีเขตข้อมูลหลักเป็นเขตข้อมูลตัวเลข การเรียงจะเรียงจากเลข ไปถึง 0     

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

  3.5 การสรุปผลและเผยแพร่             เป็นขั้นตอนที่ทำให้ผู้อื่นไ ด้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานของผู้จัดทำซึ่งอาจนำเสนอได้หลายรูปแบบ เช่น การแสด...